24 ม.ค. 2557

บทที่ 5 การประมาณค่าช่วง Interporation ในโปรแกรม Arc Gis (Arc Map 10)



บทที่ 5 การประมาณค่าช่วง (Interpolation)



การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี IDW

เริ่มจากการไปเปิดชั้นข้อมูลจุดชื่อ SPOT ซึ่งมีค่า Elevation



แล้วเปิดชั้นข้อมุลโพลิกอน ชื่อ PROVINCE


แล้วให้ไปที่ ArcToolbox --->Spatial Analyst Tools ---> Interpolation เลือก IDW



 จะมีหน้าต่างขึ้นมา ในช่อง Input point features ให้เลือกชั้นข้อมูลที่นำเข้ามา ในช่อง Z value field คือ ช่องที่เก็บข้อมูลความสูง ให้เลือก Elevationในช่อง Output raster ให้ตั้งชื่องานและเลือกที่ที่จะเก็บงาน ในช่อง Output cell size (optional) คือ กำหนดขนาดของกริด ให้ใส่ค่า 40 เสร็จแล้วให้กด Environments




เลือก Processing Extent --->ในช่วงExtent เลือก Same as PROVINCE จากนั้นเลื่อนลงมา   เลือก Raster Analysis ตรงช่อง Mask ให้เลือก PROVINCE เสร็จแล้วกด OK




เสร็จแล้วจะได้ดังนี้



การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Natural Neighbors
ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม แล้วไปที่ ArcToolbox ---> Spatial Analyst Tools ---> Interpolation ---> Natural Neighbor



 จะมีหน้าต่างขึ้นมา ในช่อง Input point features ให้ใส่ชั้นข้อมูล SPOT ในช่อง Z Valut field ให้ใส่ field ที่เก็บค่าความสูง ให้เลือก Elevation ในช่อง Output raster ให้เลือกโฟเดอร์เก็บและตั้งชื่อ ในช่อง Output cell size ให้ใส่ขนาดของ Pixel 40 เสร็จแล้วกด Environ ments



ให้เลือก Processing Extent ---> ในช่อง Extent เลือก Same as layer PROVINCE  จากนั้นเลื่อนลง เลือก Raster Analysis ---> ตรงช่อง Mask เลือก PROVINCE  กด Ok




 เสร็จแล้วจะได้ดังนี้



การประมาณค่าช่วงด้วยวิธี Spline
มี 2 แบบ
แบบที่ 1 REGULARIZD
เริ่มจากไปเปิดชั้นข้อมูล SPOT เหมือนเดิม




ให้ไปที่ ArcToolbox ---> Spatial Analyst Tools ---> Interpolation --->Spline



ในช่อง Input point features ให้ใส่ชั้นชั้นข้อมูล SPOT ในช่อง Z Value field ให้ใส่ field ที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ในช่อง Output raster ให้เลือก โฟเดอร์แล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนาดของ Pixel ให้ใส่ 40 ส่วนช่อง Spline type มีให้เลือก 2 อย่าง ให้เลือก REGULARIZED เสร็จแล้วให้กด Environments



ให้ไปที่ Processing Extent ---> ในช่อง Extent ให้เลือก Same as layer PROVINCE



เสร็จแล้วเลื่่อนลงมา



ให้ไปที่ Raster Anaysis ---> ตรงช่อง Mask เลือก PROVINCE กด Ok



กด Ok


เสร็จแล้วจะได้ดังนี้



แบบที่ 2 TENSION
ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม




ให้ไปที่ ArcToolbox ---> Spatial Analyst Tools ---> Interpolation --->Spline


นช่อง Input point features ให้ใส่ชั้นชั้นข้อมูล SPOT ในช่อง Z Value field ให้ใส่ field ที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ในช่อง Output raster ให้เลือก โฟเดอร์แล้วตั้งชื่อ ช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนาดของ Pixel ให้ใส่ 40 ส่วนช่อง Spline type  ให้เลือก TENSION  เสร็จแล้วให้กด Environments


 ให้ไปที่ Processing Extent ---> ในช่อง Extent ให้เลือก Same as layer PROVINCE



เสร็จแล้วเลื่อนลงมา


ให้ไปที่ Raster Anaysis ---> ตรงช่อง Mask เลือก PROVINCE กด Ok



กด Ok


 เสร็จแล้วจะได้ดังนี้


การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Kriging
ใช้ข้อมูลเหมือนเดิม



ให้ไปที่ ArcToolbox ---> Spatial Analyst Tools ---> Interpolation ---> Kriging



ช่อง Input point features ใส่ชั้นข้อมูล SPOT ในช่อง Z Value field ให้ใส่ field ที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output raster ให้เลือกโฟเดอร์ แล้วตั้งชื่อ ในช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel ใส่ 40 เสร็จแล้วกด Environments


ให้ไปที่ Processing Extent ---> ในช่อง Extent ให้เลือก Same as layer PROVINCE




เสร็จแล้วเลื่อนลงมา



ให้ไปที่ Raster Anaysis ---> ตรงช่อง Mask เลือก PROVINCE กด ok


กด Ok


 เสร็จแล้วจะได้ดังนี้



 การประมาณค่าช่วง ด้วยวิธี Trend
ใช้ข้อมูล SPOT เหมือนเดิม


ให้ไปที่ ArcToolbox ---> Spatial Analyst Tools ---> Interpolation --->Trend




 จะมีหน้าต่างขึ้นมา ช่อง Input point features ใส่ชั้นข้อมูล SPOT ในช่อง Z Value field ให้ใส่ field ที่เก็บค่าความสูง คือ Elevation ช่อง Output raster ให้เลือกโฟเดอร์ แล้วตั้งชื่อ ในช่อง Output cell size ให้ใส่ค่าขนานของ Pixel ใส่ 40 ส่วนในช่อง Polynomial order ให้ใส่ สมการพีชคณิต เสร็จแล้วกด Environments




ให้ไปที่ Processing Extent ---> ในช่อง Extent ให้เลือก Same as layer PROVINCE

  เสร็จแล้วเลื่อนลง



ให้ไปที่ Raster Anaysis ---> ตรงช่อง Mask เลือก PROVINCE


กด ok


 กด ok



เสร็จแล้วจะได้ดังนี้





การประมาณะค่าช่วง ด้วยวิธี Topo to Raster
เริ่มจากไปเปิดชั้นข้อมูล SPOT และ PROVINCE เหมือนเดิม และไป เปิดชั้นข้อมูล CONTOUR และ STREAM ขึ้นมา




ให้ไปที่ ArcToolbox ---> Spatial Analyst Tools ---> Interpolation ---> Topo to Raster



จะมีหน้าต่าง Topo to Raster ขึ้นมาให้ทำตั้งค่าดังภาพ
          ช่อง Input features data ให้เลือกชั้นข้อมูลที่นำเข้ามาทั้งหมด แล้วตั้งค่าช่อง Field และ Type ตามภาพตัวอย่าง
          ช่อง Output surface raster ให้ตั้งชื่องานและเลือกที่ที่จะเก็บงาน
          ช่อง Output cell size (optional) ใส่ค่า 40
          เมื่อเรียบร้อยกด OK




เสร็จแล้วจะได้ดังนี้

การสร้างโครงข่ายสามเหลี่ยม (Triangulation: TINs) แสดงข้อมูลลักษณะพื้นผิวของแต่ละประเภท

ที่เมนู Arctoolbox เลือก 3D Analyst Tools >> TIN Management >> ดับเบิ้ลคลิกที่ Create TIN



ที่หน้าต่าง Create TIN ตั้งค่าดังภาพช่อง Output TIN ให้ตั้งชื่องานและเลือกที่ที่จะเก็บงานช่อง Input Features Class (optional) ให้เลือกชั้นข้อมูลที่นำเข้ามาทั้งหมด แล้วตั้งค่าช่อง height_field , SF_type และ tag_field ตามภาพตัวอย่าง  เมื่อเรียบร้อยแล้วกด OK



เสร็จแล้วจะได้ดังนี้


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น